วันศุกร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

INFO GRAPHIC 5 หลัก "ช่างภาพ"

INFO GRAPHIC


พวกคุณเคยรู้หรือไม่ INFO GRAPHIC นั่นคืออะไร ?

ใครหลายๆคนอาจจะเคยเห็นแผ่นป้ายโปสเตอร์ที่มีข้อความมาพร้อมกับรูปภาพอธิบายต่างๆ และคิดว่ามันก็เป็นแค่ใบปลิวเล็กๆใบหนึ่ง ต่างพูดกันว่ามันก็แค่โปสเตอร์ธรรมดา แต่ไม่ใช่เลยนั่นเป็นความคิดผิดๆ เพราะ โปสเตอร์เหล่านั้นมันมีชื่อเรียกว่า "INFO GRAPHIC" มันคือ สื่อการเรียนรู้ที่ผู้จัดทำต้องการที่จะสื่อสารส่งข้อมูลให้กับผู้อื่นโดยผ่านจากการทำโปสเตอร์ ข้อความพร้อมรูปภาพให้ผู้ที่ได้พบเห็นได้อ่าน ได้รับความรู้และปฎิตามในสิ่งที่ตนเองต้องการจะสื่อสาร





วัตถุประสงค์ของ Info Graphic 5 หลัก "ช่างภาพ"

- ต้องการให้ผู้ที่สนใจประกอบอาชีพช่างภาพ ได้รับรู้สิ่งที่ช่างภาพที่ดีควรจะมี
- ต้องการให้ผู้ที่สนใจอ่านและนำไปใช้ปฎิบัติตามได้จริง
- ต้องการสื่อให้บุคคลต่างอาชีพรับรู้ว่าการเป็นช่างภาพนั้นจำเป็นต้องมีอะไรบ้างต้องปฎิบัติตัวอย่างไร


กลุ่มเป้าหมาย

- ช่างภาพฝึกหัด
- ผู้ที่สนใจจะเข้ามาประกอบอาชีพในสายงานการเป็นช่างภาพ
- เด็ก มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อเป็นตัวเลือกในการ เลือกอาชีพในอนาคต

ขั้นตอนการทำงาน

งาน Info Graphic ชิ้นนี้เป็นงานที่ไม่ยุ่งยากมากครับ ขั้นตอนการทำงานมี ดังนี้

- ลำดับแรกของการทำงานคือ การเลือกหัวข้อและรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถามจากผู้ที่ประกอบอาชีพในสายงานกานเป็นช่างภาพและ ค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ต

- ลำดับที่สองนำข้อมูลที่รวบรวมมาได้มาคัดกรองความเหมาะสมให้สอดคล้องกับ Info Graphic ที่เราจะทำและนำไปเข้ากระบวนการถัดไป

- ลำดับที่สาม นำข้อมูลที่เราได้คัดกรองออกมาแล้ว มาทำการออกแบบดีไซด์ข้อมูลให้กลายเป็นรูปภาพที่ง่ายต่อการสื่อสารกับบุคคลที่สนใจ

- ลำดับที่สี่คือหลังจากเราออกแบบข้อมูลให้กลายเป็นรูปภาพที่ง่ายต่อการสื่อสารกับผู้ที่สนใจแล้วให้เรานำข้อมูลที่ได้คัดกรองในขั้นตอนลำดับที่สองมาใส่ลงไปใต้ภาพ ตรวจสอบความถูกต้องของชิ้นงานและมั่นใจว่าตรงตามวัตถุประสงค์ที่เราต้องการจะสื่อ

- ลำดับที่ห้าเป็นลำดับสุดท้ายคือการนำไปเผยแพร่และตรวจสอบผลตอบรับ โดยเราจะทำการโพสลงบน หน้าเพจเฟสบุค และเชคดูจากยอดไลท์ และมีการทำแบบสอบถามออนไลน์เผื่อตรวจสอบผลตอบรับของ Info Graphic ชิ้นนี้ว่ามีผู้สนใจมากน้อยเพียงใด


สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำ Info Graphic ชิ้นนี้

- การทำงานอย่างเป็นระบบแบบแผน
- การมองโลกให้กว้าง ได้ความคิดแปลกใหม่
- การใช้จินตนาการของตนเองสร้างสื่อขึ้นมาเพื่อสื่อสารกับบุคคลอื่น
- ได้รับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจมากขึ้น
- ได้รู้ว่า การเลือกใช้ รูปแบบตัวอักษร ก็เป็นส่วนสำคัญในการดึงดูดความนใจ

วันศุกร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557

ปรับปรุง พัฒนาสื่อ



MONOPOLY
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ






สิ่งที่สื่อชิ้นนี้ควรปรับปรุง

- บรรจุภัณฑ์ ของตัวสื่อ

ก่อนปรับปรุง





หลังปรับปรุง









- บรรจุภัณฑ์ของอุปกรณ์

ก่อนปรับปรุง







หลังปรับปรุง






- ซ่อมแซมตัวชิ้นงานบางชิ้นของสื่อ


                                                                                                                 ก่อนปรับปรุง







หลังปรับปรุง





- ส่วนอื่นที่สำคัญของสื่อมีความ ครบถ้วนสมบูรณ์และเข้ากับ กิจกรรมที่มีในสื่ออย่างลงตัว มีทั้งคู่มือวิธีการเล่นที่มีข้อมูลครบครันทำให้ผู้ที่สนใจจะใช้สื่อชิ้นนี้เข้าใจได้โดยง่ายจึงไม่จำเป็นต้องปรับปรุง


สรุป

จากการวิเคราะห์สื่อชิ้นนี้สิ่งที่สมควรพัฒนาอย่างยิ่งคือความครบถ้วนสมบูรณ์ ของสื่อเพราะตัวสื่อมีการชำรุดและ บรรจุภัณฑ์ของสื่อไม่มีความเหมาะสมกับตัวสื่อจึงต้องพัฒนาขึ้นมาใหม่ ดังรูปที่ยกตัวอย่างไป